(^_^) Welcome to the blog of Ms.Sralchana Songroop (^_^)

วันเสาร์ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557

Study Notes 15

Study Notes 15
Science Experiences Management for Early Childhood
Ms. Jintana     suksamran
November 27, 2557
Group 101 (Thursday)
Time  08.30 - 12.20 PM.
content เนื้อหา
วันนี้ให้นักศึกษาออกมานำเสนอ บทวิจัย และ VDO เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วิจัยเรื่องที่ 1 การสร้างชุดกิจกรรม เพื่อทักษะกระบวนการทางวิทยาสาสตร์ สำหรับเด็กปฐมวัยทางวิทยาสาสตร์ ที่ได้รับจากวิจัยเรื่องนี้คือ การสังเกต การจำแนก การวัด และการหามิติสัมพันธ์

            วิจัยเรื่องที่ 2 ผลการจัดประสบการณ์ หน่วยเน้นวิยาสาสตร์นอกชั้นเรียน
ทักษะทางวิทยาสาสตร์ ที่ได้รับจากวิจัยเรื่องนี้คือ การสังเกต การประมาณ และการเปลี่ยนแปลง

            วิจัยเรื่องที่ 3 การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
ทักษะทางวิทยาสาสตร์ ที่ได้รับจากวิจัยเรื่องนี้คือ การจำแนก การจัดประเภท และอนุกรม

            วิจัยเรื่องที่ 4 ผลของกิจกรรมการทดลอง (กิจกรรมเกี่ยวกับพืชต้องการแสงแดด)   
ทักษะทางวิทยาสาสตร์ ที่ได้รับจากวิจัยเรื่องนี้คือ การสังเกต การจำแนก การวัด การสื่อความหมาย การหามิติสัมพันธ์  และการลงความเห็น

Teaching methods (วิธีการสอน)
          - การเรียนรู้ด้วยตนเอง
          - การสรุปความรู้ด้วยเครื่องมือ
          - การนำเสนอ
          - การสอนโดยใช้คำถาม
          - การสอนแบบอภิปราย
          - เปิดโอกาสให้เด็กได้แสดงความคิดเห็น และฝึกการกล้าแสดงออกจริง
          - การสอนแบบกระบวนการคิด
          - การสอนแบบแก้ปัญหา
      Benefits (ประโยชน์ที่ได้รับ)
1. หารใช้คำสำคัญเพื่อหาบท วิจัยได้ง่ายขั้น
2. การนำวิจัยมาเป็นแบบอย่างในการวิจัยชั้นเรียนในอนาคต
3. การนำเครื่องมอการวิจัยไปใช้ในการจัดประสบการณ์ให้กับเด็กปฐมวัย
4. การที่เราได้ออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน ทำใก้เราฝึกความกล้าแสดงออกมากขึ้น 
      Evaluation (การประเมินผล)
      ตนเอง  แต่งกายถูกระเบียบ เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจฟังเพื่อนๆและมีการจดบันทึกระหว่างเรียน
      เพื่อน เพื่อนทุกคนตั้งใจฟังการนำเสนอบทวิจัยของเพื่อน และมีการตอบคำถามในชั้นเรียน อย่างดี
      ผู้สอน หลังจากที่เพื่อนได้นำเสนอบทวิจัย อาจารย์ก็จะขยายความรู้ของวิจัยแต่ละเรื่องให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น อธิบายให้นักศึกษาได้เข้าใจได้ง่ายขึ้น  และพูดซ้ำๆเพื่อให้นักศึกษาจดจำเนื้อหาได้ดียิ่งขึ้น







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น